เเบบรายงานผลการปฎิบัติงาน
ตามข้อตกลงในการพัฒนา (PA)
นางสาวนิตยา ปรุงผล
ตำแหน่ง ครู
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒
ประวัติส่วนตัวผู้รับประเมิน
ข้อตกลง PA
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน
ครั้งที่ 1
(1 ต.ค. 66 - 31 มี.ค. 67)
ครั้งที่ 2
(1 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67)
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 16.67 ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
- ค22208 รายวิชาคณิตศาสตร์สร้างสรรค์ จำนวน 3.33 ชั่วโมง/สัปดาห์
- ค31216 รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม จำนวน 6.67 ชั่วโมง/สัปดาห์
- ค32102 รายวิชาคณิตศาสตร์ จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 14 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 16.67 ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
- ค22207 รายวิชาคณิตศาสตร์สร้างสรรค์ จำนวน 1.67 ชั่วโมง/สัปดาห์
- ค31215 รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม จำนวน 10 ชั่วโมง/สัปดาห์
- ค32101 รายวิชาคณิตศาสตร์ จำนวน 3.33 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 20 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
ด้านที่ 1 ด้านการจัดการเรียนรู้
ลักษณะงาน
ปฏิบัติและนำเสนอครอบคลุมถึงการสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตรการออกแบบการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การสร้างและหรือพัฒนาสื่อนวัตกรรมเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ การวัดและการประเมินผลการจัดการเรียนรู้ การศึกษา การวิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้การจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน และการอบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน
ด้านที่ 1 ด้านการจัดการเรียนรู้
1.1 สร้างและพัฒนาหลักสูตร
จัดการวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด นำไปจัดทำรายวิชาคณิตศาสตร์ และจัดทำหน่วยการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) โดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน
ด้านที่ 1 ด้านการจัดการเรียนรู้
1.2 การออกแบบการจัดการเรียนรู้
สร้างแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดเชิงวิจารณญาณ มีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจำวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะที่สำคัญตามหลักสูตร โดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้อง กับบริบทของสถานศึกษา ผู้เรียน และท้องถิ่น และใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning
ด้านที่ 1 ด้านการจัดการเรียนรู้
1.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
จัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการ (Process)
เน้นกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ร่วมกัน และเน้น
ความแตกต่างของนักเรียนรายบุคคล มีการแลกเปลี่ยนความรู้และลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง
ด้านที่ 1 ด้านการจัดการเรียนรู้
1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม
เทคโนโลยี และแหล่ง เรียนรู้
ด้านที่ 1 ด้านการจัดการเรียนรู้
1.5 การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงเพื่อแก้ปัญหาผู้เรียนที่ยังขาดทักษะการคิดวิเคราะห์ พิจารณาจาก
1) แบบทดสอบหลังเรียน
2) แบบฝึกหัด ในเอกสารประกอบการเรียน
3) ใบกิจกรรม การนำเสนอ แก้ปัญหาในชีวิตจริง
4) แบบสังเกตพฤติกรรม
ด้านที่ 1 ด้านการจัดการเรียนรู้
1.6 การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์
เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้
ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการ (Process)
ด้านที่ 1 ด้านการจัดการเรียนรู้
1.7 การจัดบรรยากาศที่ส่งเสริม และ
พัฒนาผู้เรียน
ผู้เรียนเข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล
ด้านที่ 1 ด้านการจัดการเรียนรู้
1.8 การอบรม และพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของ ผู้เรียน
ด้านที่ 2 ด้านการส่งเสริมเเละสนับสนุน
ลักษณะงาน
ปฏิบัติและนำเสนอครอบคลุมถึง สารสนเทศของผู้เรียน และรายวิชาที่ครูสอนให้ผู้เรียนและผู้ปกครองสามารถเข้าถึงสารสนเทศได้ รวมถึงการแก้ไขปัญหาผู้เรียนให้มีความพร้อมและมีศักยภาพเพียงพอในการพัฒนาได้ เช่น การเยี่ยมบ้านนักเรียน คัดกรองนักเรียนยากจน การวิเคราะห์ ผู้เรียนรายบุคคล การประเมิน SDQ ทะเบียนแสดงผลการเรียน ระบบดูแลและช่วยเหลือนักเรียนโดยโปรแกรม My School เพื่อใช้สนับสนุนการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ด้านที่ 2 ด้านการส่งเสริมเเละสนับสนุน
2.1 การจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียน
และรายวิชา
ด้านที่ 2 ด้านการส่งเสริมเเละสนับสนุน
2.2 การดำเนินการตามระบบดูแล
ช่วยเหลือผู้เรียน
ด้านที่ 2 ด้านการส่งเสริมเเละสนับสนุน
2.3 การปฏิบัติงานวิชาการและ
งานอื่น ๆ ของสถานศึกษา
ด้านที่ 2 ด้านการส่งเสริมเเละสนับสนุน
2.4 ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง
ภาคีเครือข่าย และหรือ
สถานประกอบการ
แจ้งปัญหาผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ให้ผู้ปกครองทราบผ่านครูที่ปรึกษา โดยการแจ้งให้ผู้ปกครองทราบถึงการทำกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาการขาดทักษะการคิดวิเคราะห์ด้วยเอกสารประกอบการเรียน ผลการจัดการเรียนรู้
ด้านที่ 3 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
ลักษณะงาน
ปฏิบัติและนำเสนอครอบคลุมถึงการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง การมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้และนำความรู้ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ใน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และพัฒนาเทคโนโลยี สื่อ นวัตกรรม
การจัดการเรียนรู้
ด้านที่ 3 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
3.1 การพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
ด้านที่ 3 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
3.2 การมีส่วนร่วมในการ แลกเปลี่ยน
เรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อ พัฒนาการ
จัดการเรียนรู้
มีส่วนในการเป็นเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ ผ่านกิจกรรมนิเทศการจัดการเรียนรู้ และนำผลจากการประชุม PLC ไปสร้างเป็นสื่อ นวัตกรรม เพื่อนำมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน หรือแก้ไขนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
ด้านที่ 3 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
3.3 การนำความรู้ความสามารถทักษะที่ได้จากการพัฒนา
ตนเอง และวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการจัดการ
เรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน และการพัฒนา
นวัตกรรม การจัดการเรียนรู้
นำผลจากการอบรมและเข้าร่วมชุมนุมการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ไปจัดทำชุดกิจกรรมการเรียนรู้ รายวิชาคณิตศาสตร์ ม.5 ที่ประกอบด้วย สื่อการเรียนรู้ แบบฝึกทักษะ เพื่อนำมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน หรือแก้ไขปัญหาของผู้เรียนที่ขาดทักษะการคิดวิเคราะห์มาใช้ใน
การดำเนินชีวิตประจำวันได้
คลิป VDO การจัดการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ประเด็นท้าทายเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ดอกเบี้ยคงต้นหรือดอกเบี้ยอย่างง่าย (Simple Interest) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยวิธีการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
เป้าหมายเชิงปริมาณ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ดอกเบี้ยคงต้นหรือดอกเบี้ยอย่างง่าย (Simple Interest) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning มีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน
เป้าหมายเชิงคุณภาพ
ความสามารถในการให้เหตุผลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยวิธีการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning สูงขึ้น
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทาย
ในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน